รายละเอียด ซอฟต์แวร์สื่อการเรียนการสอน CAI วิชา ภาษาไทย ม2
ซอฟต์แวร์สื่อการเรียนการสอน CAI วิชา ภาษาไทย ม2 มีจำนวน 4 ชุด
ซอฟต์แวร์สื่อการเรียนการสอน CAI วิชา ภาษาไทย ม2 ชุด 1
1 คำสมาส - ความหมายของคำสมาส - วิธีสมาสในภาษาบาลีและสันสกฤต - ความแตกต่างของสมาสในภาษาบาลีและสันสกฤต กับสมาสในภาษาไทย - ที่มาของคำสมาส - คำสมาสในภาษาไทย - การสร้างำสมาส - คำสมาสตามวิธีแบบไทย - ข้อสังเกตคำสมาส - การอ่านคำสมาส - เนื้อหาสรุปคำสมาส - ตัวอย่างคำสมาส 2 คำสนธิ - ความหมายของคำสนธิ - ข้อแตกต่างของคำสมาสและคำสนธิ - ประโยชน์ของการสร้างคำสนธิ - วิธีสนธิในภาษาบาลี และสันสกฤต - การนำคำบาลีและสันสกฤตมาใช้ในภาษาไทย - วิธีสนธิในภาษาไทย - การสังเกตลักษณะสนธิในภาษาไทย - วิธีสนธิ - หลักเกณฑ์การสนธิ - การกลืนเสียงของคำสนธิ - การกลมกลืนเสียงสระ - การกลมกลืนเสียงพยัญชนะ - การกลมกลืนเสียงนิคหิต - ข้อสังเกตในการจำแนก คำสมาส คำสนธิ และคำประสม - คำไทยที่แปลงจากคำบาลี สันสกฤตที่นำมาสนธิ - ตัวอย่าง คำสนธิ - สรุปช่วยจำคำสนธิ 3 ชนิดของประโยค - เกริ่นนำการแยกชนิดของประโยค - ทบทวนชนิดของประโยค - การแบ่งชนิดประโยคแบบที่ 1 - การแบ่งชนิดของประโยคแบบที่ 2 - เอกรรถประโยค - อเนกรรถประโยค - สังกรประโยค - ประโยคเล็กของสังกรประโยค - ส่วนประกอบของอเนกรรถประโยค และสังกรประโยค - ชนิดของอเนกรรถประโยค - วิธีสัมพันธ์เอกรรถประโยค อเนกรรถประโยค และสังกรประโยค - การใช้ประโยคใหญ่เป็นประโยคย่อย - ประโยคระคน - สรุปช่วยจำ เรื่องประโยค
ซอฟต์แวร์สื่อการเรียนการสอน CAI วิชา ภาษาไทย ม2 ชุด 2
1 เครื่องหมายวรรคตอน - ประโยชน์ของเครื่องหมายวรรคตอน - ขนิดของเครื่องหมายวรรคตอนในภาษาไทย - เครื่องหมายวรรคตอนในอดีต - เครื่องหมายวรรคตอนในปัจจุบัน - เครื่องหมายมหัพภาค - เครื่องหมายจุลภาค ตัวอย่าง กลอนสุภาพ - เครื่องหมายอัฒภาค - เครื่องหมายจุดคู่ - เครื่องหมายปรัศนี - เครื่องหมายทัณฑฆาต - เครื่องหมายอัศเจรีย์ - เครื่องหมายนขลิขิต - เครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยม - เครื่องหมายวงเล็บปีกกา - เครื่องหมายบุพสัญญา - เครื่องหมายอัญประกาศ - เครื่องหมายไม้ยมก - เครื่องหมายทับ - เครื่องหมายไปยาลน้อย - เครื่องหมายไปยาลใหญ่ - เครื่องหมายยติภังค์ - เครื่องหมายสัญประกาศ - เครื่องหมายจุดไข่ปลา - เครื่องหมายเสมอภาค 2 คำประพันธ์และฉันทลักษณ์ - ประโยชน์และความสำคัญของคำประพันธ์และฉันทลักษณ์ - ความหมายของบทประพันธ์และคำประพันธ์ - ความหมายของฉันทลักษณ์ - ประเภทของฉันทลักษณ์ - ครุ-ลหุ - คำเอก-โท - คณะ - พยางค์ - สัมผัส - คำเป็น คำตาย - คำนำ หรือคำขึ้นต้น - คำสร้อย - ชนิดคำประพันธ์ - ลักษณะบทร้อยกรองที่ดี - บันทึกช่วยจำ - คำประพันธ์และฉันทลักษณ์ 3 กลอนสุภาพ - ชนิดของกลอน » กลอน 4 » กลอน 6 » กลอน 7 » กลอน 8 » กลอน 9 - ตัวอย่าง กลอนสุภาพ
มัธยมศึกษา ชั้นปีที่ 2 ภาษาไทย ชุด 3
1 การใช้ความคิดและการแสดงออกเป็นภาษา - ระเบียบวิธีคิด » การวิเคราะห์ » การสังเคราะห์ » การประเมินค่า - กระบวนการแสดงเหตุผล - การอนุมาน อุปนัย นิรนัย คำประสมที่เป็นคำวิเศษณ์ » ความหมายและประเภทของการอนุมาน » หลักการคิด-การทำ-การจำ » รูปแบบของการอุนุมาน - การแสดงทรรศนะ » ความหมายของทรรศนะ » โครงสร้างของการแสดงทรรศนะ » ประเภทของทรรศนะ เกม ต่อคำไทย สมาส สนธิ - การโน้มน้าวใจ ขุนช้างขุนแผนตอนที่ 4 » ความหมายวิธีการโน้มน้าวใจ » กลวิธีในการโน้มน้าวใจ - การโฆษณาชวนเชื่อ - การโต้แย้ง » ความหมายของการโต้แย้ง » โครงสร้างของการโต้แย้ง » เปรียบเทียบกระบวนการโต้แย้งกับการโต้วาที » การอธิบาย » การบรรยาย » การพรรณนา 2 คำประสม - ความหมายของคำมูล - ตัวอย่าง คำมูล » ตัวอย่าง คำมูลพยางค์เดียว » ตัวอย่าง คำมูลหลายพยางค์ 3 ความหมายคำประสม 4 โครงสร้างคำประสม 5 ชนิดของคำประสม - คำประสมที่เป็นคำนาม » คำประสมที่เกิดจาก คำนาม+คำนาม » คำประสมที่เกิดจาก คำนาม+คำกริยา » คำประสมที่เกิดจาก คำนาม+คำวิเศษณ์ » คำประสมที่เกิดจาก คำนาม+คำบุพบท » คำประสมที่เกิดจาก คำกริยา+คำนาม » คำประสมที่เกิดจาก คำกริยา+คำกริยา » คำประสมที่เกิดจาก คำกริยา+คำวิเศษณ์ » คำประสมที่เกิดจาก คำวิเศษณ์+คำนาม » คำประสมที่เกิดจาก คำวิเศษณ์+คำวิเศษณ์ » คำประสมที่เป็นคำกริยา - คำประสมที่เกิดจาก คำกริยา+คำกริยา » คำประสมที่เกิดจาก คำกริยา+คำนาม » คำประสมที่เกิดจาก คำกริยา+คำวิเศษณ์ » คำประสมที่เกิดจาก คำวิเศษณ์+คำนาม » คำประสมที่เกิดจาก คำบุพบท+คำนาม - คำประสมที่เป็นคำวิเศษณ์ » คำประสมที่เกิดจาก คำวิเศษณ์+คำนาม » คำประสมที่เกิดจาก คำวิเศษณ์+คำกริยา » คำประสมที่เกิดจาก คำนาม+คำวิเศษณ์ » คำประสมที่เกิดจาก คำกริยา+คำนาม » คำประสมที่เกิดจาก คำบุพบท+คำนาม » คำประสมที่เกิดจาก คำกริยา+คำกริยา 6 เกม ต่อคำไทย สมาส สนธิ 7 ขุนช้างขุนแผนตอนที่ 4
มัธยมศึกษา ชั้นปีที่ 2 ภาษาไทย ชุด 4
1 การเขียนการันต์และการใช้ไม้ทัณฑฆาต - ความหมายและสัญลักษณ์ของทัณฑฆาต - ความหมายและสัญลักษณ์ของตัวการันต์ - การอ่านและสังเกตคำที่มีเครื่องหมายทัณฑฆาตและตัวการันต์ - หลักการใช้งานเครื่องหมายทัณฆาตและตัวการันต์ - ตัวอย่าง คำการันต์เรียงตามพยัญชนะ 2 คำซ้อน - ความหมายและที่มาของคำซ้อน - ลักษณะของคำซ้อน - คำซ้อนเพื่อความหมาย - คำซ้อนเพื่อเสียง - ตัวอย่าง คำซ้อนและความหมาย - ความแตกต่างระหว่างคำซ้อนและคำซ้ำ 3 คำซ้ำ - ความหมายและที่มาของคำซ้ำ - ตัวอย่าง คำซ้ำ - การเขียนคำซ้ำ - การอ่านคำซ้ำ 4 จุดประสงค์การซ้ำคำ - เพื่อบอกความเป็นพหูพจน์ - เพื่อเน้นย้ำพื่อแสดงความหมายเป็นกลางๆ - เพื่อแสดงการแยกงาน - เพื่อแสดงความหมายโดยประมาณ - เพื่อใช้เป็นคำสั่ง - เพื่อแสดงกริยาว่าทำต่อไปเรื่อยๆ - เพื่อแสดงลักษณะส่วนใหญ่ในกลุ่ม - เพื่อแสดงอาการหรือเหตุการณ์ต่อเนื่อง - เพื่อเลียนเสียงธรรมชาติ - เพื่อให้เกิดความหมายใหม่ 5 ขุนช้างขุนแผนตอนที่ 5
สอบถามเพิ่มเติม
รีวิว
ยังไม่มีบทวิจารณ์